แนะนำ
ครูจ๊อด
ชื่อนายจีรศักดิ์ เงินบุตรโคตร
บ้านเกิด อยู่ตำบลด่านทับตะโก อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี
ปัจจุบันกำลังศึกษา ป.บัณวิชาชีพครู รุ่นที่ 12 ปีการศึกษา 2552
เรียนจบปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์บริหารธุรกิจ
จาก....มหาวิยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง พ.ศ.2549
ชื่อนายจีรศักดิ์ เงินบุตรโคตร
บ้านเกิด อยู่ตำบลด่านทับตะโก อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี
ปัจจุบันกำลังศึกษา ป.บัณวิชาชีพครู รุ่นที่ 12 ปีการศึกษา 2552
เรียนจบปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์บริหารธุรกิจ
จาก....มหาวิยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง พ.ศ.2549
โครงการสอนวิชาภาษาและเทคโนดลยีฯ
รหัสวิชา GD ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู 3 ( 1-2-3 )
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
อาจารย์ผู้สอน ผศ.วิวรรธน จันทร์เทพย์
โปรแกรมวิชาเทคดนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
คณะคุรุศาสตร์ มหาวิยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
**********************************************
คำอธิบายรายวิชา (เนื้อหา)
ศึกษาและฝึกทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ท และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเป็นเครื่องมือสื่อสารและสืบค้นทั้งภาษาไทยและต่างประเทศ ทั้งในด้านการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน เพื่อการสื่อความหมาย โดยเน้นกระบวนการ ทักษะสัมพันธ์ทางภาษา ตลอดจนศึกษาและฝึกการตีความ การขยายความ การสรุปความ การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล รวมทั้งการนำเสนองานทางวิชาการหัวข้อที่จะเรียนกัน
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
อาจารย์ผู้สอน ผศ.วิวรรธน จันทร์เทพย์
โปรแกรมวิชาเทคดนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
คณะคุรุศาสตร์ มหาวิยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
**********************************************
คำอธิบายรายวิชา (เนื้อหา)
ศึกษาและฝึกทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ท และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเป็นเครื่องมือสื่อสารและสืบค้นทั้งภาษาไทยและต่างประเทศ ทั้งในด้านการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน เพื่อการสื่อความหมาย โดยเน้นกระบวนการ ทักษะสัมพันธ์ทางภาษา ตลอดจนศึกษาและฝึกการตีความ การขยายความ การสรุปความ การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล รวมทั้งการนำเสนองานทางวิชาการหัวข้อที่จะเรียนกัน
จุดประสงค์
.........เมื่อผู้เรียนศึกษาเนื้อหาและกิจกรรมเสร็จสิ้นแล้วจะมีพฤติกรรมและความสามารถดังต่อไปนี้
.........1. อธิบายความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้สำหรับครูได้
.........2. อธิบายและปฏิบัติการเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต สำหรับครูได้
.........3. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสืบค้นข้อมูลทางการศึกษา
.........เมื่อผู้เรียนศึกษาเนื้อหาและกิจกรรมเสร็จสิ้นแล้วจะมีพฤติกรรมและความสามารถดังต่อไปนี้
.........1. อธิบายความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้สำหรับครูได้
.........2. อธิบายและปฏิบัติการเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต สำหรับครูได้
.........3. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสืบค้นข้อมูลทางการศึกษา
เนื้อหา
หน่วยที่ 1
.........เทคโนโลยีพื้นเพื่อการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้สำหรับครู
........เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (Technology in Education) หมายถึง การนำเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ เข้ามาประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษา การจัดการเรียนการสอน เพื่อให้การศึกษาการสอนการเรียนมีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีที่นำมาใช้ในการศึกษา ได้แก่เทคโนโลยีต่าง ๆ ดังนี้1. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม คือ เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการสื่อสารทางไกลโดยผ่านระบบการสื่อสารคมนาคมต่าง ๆ2. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ซึ่งใช้คอมพิวเตอร์ในการรับข้อมูล ประมวลผลข้อมูลและนำเสนอข้อมูลตามที่ผู้ใช้ต้องการ3. เทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network-LAN) เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ต่อเชื่อมคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ไม่มากนัก มักอยู่ในอาคารหลังเดียว เครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network-WAN) เป็นระบบเครือข่ายที่มีคอมพิวเตอร์กระจายอย่างกว้างขวางทั่วประเทศ ช่วยให้สำนักงานในจังหวัดติดต่อสื่อสารและทำงานร่วมกับสำนักงานใหญ่ที่อยู่ในเมืองหลวงได้4. ระบบสำนักงานอัตโนมัติ เป็นแนวคิดที่นำระบบเครือข่ายมาใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์สำนักงาน เช่น ระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบประชุมทางไกล5. เทคโนโลยีระบบสารสนเทศ เป็นการประมวลผลข้อมูลในลักษณะต่าง ๆ เพื่อช่วยในการจัดการและบริหารงาน6. ระบบมัลติมีเดีย เป็นเทคโนโลยีที่ผสมผสานภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง และข้อความเข้าด้วยกันโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยในการแสดงผล นำไปประยุกต์ใช้ในการสอน เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) กิจกรรมเพื่อการศึกษาที่ใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย ในปัจจุบันนี้ได้แก่ วิทยุกระจายเสียงเพื่อการศึกษา วิทยุโรงเรียน โทรทัศน์เพื่อการศึกษา การสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ระบบประชุมทางไกล ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในบทความผู้เขียนได้กล่าวถึงความสำคัญของเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาที่มีในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และประวัติการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษาของไทยไว้ด้วยที่มา : ชม ภูมิภาค, เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา, เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา, ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 หน้า 15-17 2543
**********************************************
หน่วยที่ 2
........คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
........1. ความหมายของคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
คอมพิวเตอร์ (Computer) อาจให้ความหมายได้หลายทัศนะ เช่น คอมพิวเตอร์ คือเครื่องประมวลผลที่จัดให้ข้อมูลดิบอยู่ในรูปแบบที่สื่อความหมายเหมาะกับการนำไปใช้ในลักษณะต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี มีหน่วยความจำที่สามารถจำข้อมูลได้จำนวนมาก สามารถคำนวณเปรียบเทียบข้อมูลที่มีความยุ่งยากซับซ้อนได้ในเวลาเพียงเศษส่วนของวินาที คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ทำงานแทนมนุษย์ในด้านการคิดคำนวณ และสามารถจำข้อมูล ทั้งตัวเลข ตัวอักษร และรูปภาพได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งต่อไปนอกจากนี้ยังสามารถจัดการเกี่ยวกับสัญลักษณ์ (Symbol) ได้ด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตาม ขั้นตอนของโปรแกรม สามารถเปรียบเทียบข้อมูลทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลไว้ในตัวเครื่องสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่าง ๆ ได้วัตถุประสงค์เมื่อเสนอกระบวนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอนนี้แล้ว ผู้ศึกษาสามารถ1. อธิบายความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ได้2. ระบุชนิดและประเภทขอคอมพิวเตอร์ได้3. อธิบายการทำงานและองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ได้4. อธิบายการใช้คอมพิวเตอร์ในการศึกษาได้ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ แนะนำส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบทั่วไปของคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เป็นส่วนที่ทำหน้าที่รับข้อมูลเข้าสู่หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) เพื่อทำการประมวลต่อไป2. หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU (Central Processing Unit) ทำหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ และทำหน้าที่ควบคุมการทำงานต่างภายในคอมพิวเตอร์3. หน่วยแสดงผล (Output Unit) เป็นหน่วยที่แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลข้อมูล ซึ่งมีรูปแบบการแสดงผลอยู่ 2 แบบ คือ3.1 แบบที่สามารถเก็บไว้ดูภายหลังได้3.2 แบบที่ไม่มีสำเนาเก็บ4.คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือกระบวนการเรียนการสอน โดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ ในการนำเสนอเนื้อหาเรื่องราวต่างๆ มีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรง และเป็นการเรียน แบบมีปฏิสัมพันธ์ คือสามารถโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้องค์ประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน1. เสนอสิ่งเร้าให้กับผู้เรียน ได้แก่ เนื้อหา ภาพนิ่ง คำถาม ภาพเคลื่อนไหว2.ประเมินการตอบสนองของผู้เรียน ได้แก่ การตัดสินคำตอบ3. ให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการเสริมแรง ได้แก่ การให้รางวัล หรือ คะแนน4. ให้ผู้เรียนเลือกสิ่งเร้าในลำดับต่อไป5. การวัดประเมินผลคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาการประเมินบทเรียนและสภาพการนำไปใช้มีบทเรียนจำนวนไม่น้อยที่ประเมินโดยผ่านข้อมูลเกี่ยวกับสภาพการใช้จริงตามความมุ่งหมายของบทเรียนนั้นๆ ดังนั้นจึงอาจคาดเดาได้ยากว่าการ ใช้บทเรียนนั้นๆ ในสภาพจริงจะประสบผลสำเร็จหรือล้มเหลว เพราะความสำเร็จหรือความล้มเหลวของ CAI ไม่ได้ขึ้นอยู่กับ CAIบทเรียนแต่จะขึ้นอยู่กับระดับการนำไปใช้จริงด้วยดังนั้นการประเมินบทเรียนควรพิจารณาในเรื่องนี้ให้ละเอียดดังที่รากอสตา (Ragosta.1983 : 124) ได้กล่าวว่า"ความสำเร็จของ CAI จะขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพที่เกิดขึ้นจากากรใช้บทเรียนนั้น เมื่อผู้เรียนเรียนจาก CAI ผู้เรียนควรได้เกิดจากการเรียนรู้แบบรอบรู้ เป็นการเรียนด้านวิชาการโดยแท้ เป็นการสดนแบบโดยตรง (Direct Instruction)บรรยากาศในการเรียนดีเป็นการคาดได้ว่า ผู้เรียนได้รับทักษะตามที่คาดหวังและผู้เรียนมีโอกาสมีส่วนร่วม หรือลงมือปฏิบัติในการเรียนระดับสูงที่มา http://sakdadet.blogspot.com/2007/08/blog-post.html
**********************************************
หน่วยที่ 3
........อินเตอร์เน็ตเพื่อการศึกษาและสืบค้น
........อินเตอร์เน็ตเพื่อการศึกษา1. การใช้เป็นระบบสื่อสารส่วนบุคคล บนอินเตอร์เน็ตมีอิเล็กทรอนิกส์เมล์หรือเรียกย่อๆ ว่า อีเมล์(E-mail) เป็นระบบที่ทำให้การสื่อสารระหว่างกันเกิดขึ้นได้ง่าย แต่ละบุคคลจะมีตู้จดหมายเป็นของตัวเองสามารถส่งข้อความถึงกันผ่านในระบบนี้โดยส่งไปยังตู้จดหมายของกันและกันนอกจากนี้ยังสามารถประยุกต์ใปใช้ทางการศึกษาได้2. ระบบข่าวสารบนอินเตอร์เน็ต มีลักษณะเหมือนกระดานข่าวที่เชื่อมโยงถึงกันทั่วโลก ทุกคนสามารถเปิดกระดานข่าวที่ตนเองสนใจหรือสามารถส่งข่าวสารผ่านกลุ่มข่าวบนกระดานนี้เพื่อโต้ตอบข่าวสารกันได้3. การใช้เพื่อสืบค้นข้อมูลข่าวสารต่างๆ บนอินเตอร์เน็ตมีแหล่งข้อมูลขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงกัน และติดต่อกับห้องสมุดทั่วโลกทำให้การค้นหาข้อมูลข่าวสารต่างๆ ทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพหมายถึงสามารถค้นหาและได้มาซึ่งข้อมูลโดยใช้เวลาอันสั้นโดยเฉพาะบนอินเตอร์เน็ตจะมีคำหลัก (Index) ไว้ให้สำหรับการสืบค้นที่รวดเร็ว4. ฐานข้อมูลเครือข่ายใยแมงมุม (World Wide Wed) เป็นฐานข้อมูลแบบเอกสาร (Hypertext) และแบบมีรูปภาพ (Hypermedia) จนมาปัจจุบัน ฐานข้อมูลเหล่านี้ได้พัฒนาขึ้นจนเป็นแบบมัลติมีเดีย(Multimedia)ซึ่งมีทั้งข้อความ รูปภาพ วีดิทัศน์ และเสียงผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสืบค้นกันได้จากที่ต่างๆ ทั่วโลก5. การพูดคุยแบบโต้ตอบหรือคุยเป็นกลุ่ม บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตสามารถเชื่อมต่อกันและพูดคุยกันได้ด้วยเวลาจริง ผู้พูดสามารถพิมพ์ข้อความโต้ตอบกันได้ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดบนเครือข่าย6. การส่งถ่ายข้อมูลระหว่างกันแบบ FTP (Files Transfer Protocol) คือสามารถที่จะโอนย้ายถ่ายเทข้อมูลระหว่างกันเป็นจำนวนมากๆ ได้ โดยส่งผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งทำให้สะดวกต่อการรับ-ส่งข้อมูลข่าวสารซึ่งกันและกันโดยไม่ต้องเดินทางและข่าวสารถึงผู้รับได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น7. การใช้ทรัพยากรที่ห่างไกลกัน ผู้เรียนอาจเรียนอยู่ที่บ้านและเรียกใช้ข้อมูลที่เป็นทรัพยากรการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยได้ และยังสามารถขอใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ในต่างมาวิทยาลัยได้ที่มา..http://it.northbkk.ac.th/elearning/ConceptIT/Chap12/page_12_13_1.asp
**********************************************
หน่วยที่ 4
........เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและสืบค้นข้อมูล
........หลักการและความสำคัญระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบสารนิเทศห้องสมุด การสืบค้น การใช้ข้อมูลสารสนเทศ และแสวงหาความรู้จากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และแหล่งสารสนเทศ การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลสารสนเทศ การจัดเก็บสารสนเทศบนระบบฐานข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การใช้ระบบมัลติมีเดีย การสร้างสารนิเทศ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพและการเรียนรู้สังคมยุคข่าสารข้อมูลอาจารย์: นิธิมา แก้วมณีศึกษาข้อมูลดังนี้· ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ· ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ· องค์ประกอบของระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์· แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศประโยชน์ของระบบสารสนเทศ· วิวัฒนาการของฮาร์ดแวร์· ประเภทของคอมพิวเตอร์· ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์· อุปกรณ์การนำเข้าข้อมูล· ซีพียูและหน่วยความจำหลัก· หน่วยความจำสำรอง· เทคโนโลยีด้านการส่งออกข้อมูลแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ· ประเภทของซอฟแวร์· ซอฟแวร์ระบบ (System Software)· ซอฟแวร์ประยุกต์ (Application software)ภาษาโปรแกรม (Programming Language)· ระบบแฟ้มข้อมูล· ปัญหาของระบบแฟ้มข้อมูล· ฐานข้อมูลและการจัดการฐานข้อมูล· องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล· ความสัมพันธ์ของข้อมูล· ประเภทของระบบฐานข้อมูล· การออกแบบระบบฐานข้อมูลการสร้างระบบฐานข้อมูล· การสื่อสารโทรคมนาคม· องค์ประกอบระบบสื่อสารโทรคมนาคม· ตัวกลางหรือช่องทางของการสื่อสาร· สัญญาณอิเลคทรอนิคส์· ลักษณะตัวกลางในการสื่อสาร· กระบวนการสื่อสาร· เครือข่าย· อินเทอร์เน็ต· World Wide WebWireless Networkจริยธรรมและความปลอดภัยในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ· ประเด็นเกี่ยวกับจริยธรรม· การคุ้มครองความเป็นส่วนตัว· การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา· อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์· การรักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์
**********************************************
หน่วยที่ 5
........ฝึกปฏิบัติการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและสืบค้นข้อมูลฝึกปฏิบัติการเรื่องต่อไปนี้- สร้างความคุ้นเคยกับพังก์ชันต่าง ๆ ของ Internet Explorer- การใช้งาน Search Engine ในการสืบค้นข้อมูล- การใช้งาน E-Book- จาก Scenario ที่กำหนด ให้ทำการออกแบบเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะใช้สำหรับองค์กรให้ทำการค้นหาจาก Internetข้อมูลการตัดสินในควรประกอบด้วยo รายละเอียด ต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์เช่น RAM, Hard disk และอื่น ๆo ให้ทำการเปรียบเทียบราคาด้วย3. มอบหมาย Coursework Assignment· การใช้งาน System Softwareo Doso Windows· การสร้าง Webpage ด้วย Application Software· การออกแบบและตกแต่งตัวอักษรและรูปภาพด้วย Application Software- ให้ออกแบบตารางเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูล โดยใช้ MS Word- ให้ทำการสร้างตารางที่ได้ทำการออกแบบไว้โดยใช้ MS Accessการ Upload ข้อมูลขึ้นสู่ Web-Serverการใช้งาน FTP สำหรับการดาวน์โหลดข้อมูลการ Share ข้อมูลบนระบบเครือข่ายการดูแลความปลอดภัยบนระบบเครือข่ายขั้นพื้นฐานที่มา..http://comm-sci.pn.psu.ac.th/commsciweb/couse_outline/CA/870221.doc
**********************************************
.........เทคโนโลยีพื้นเพื่อการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้สำหรับครู
........เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (Technology in Education) หมายถึง การนำเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ เข้ามาประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษา การจัดการเรียนการสอน เพื่อให้การศึกษาการสอนการเรียนมีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีที่นำมาใช้ในการศึกษา ได้แก่เทคโนโลยีต่าง ๆ ดังนี้1. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม คือ เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการสื่อสารทางไกลโดยผ่านระบบการสื่อสารคมนาคมต่าง ๆ2. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ซึ่งใช้คอมพิวเตอร์ในการรับข้อมูล ประมวลผลข้อมูลและนำเสนอข้อมูลตามที่ผู้ใช้ต้องการ3. เทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network-LAN) เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ต่อเชื่อมคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ไม่มากนัก มักอยู่ในอาคารหลังเดียว เครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network-WAN) เป็นระบบเครือข่ายที่มีคอมพิวเตอร์กระจายอย่างกว้างขวางทั่วประเทศ ช่วยให้สำนักงานในจังหวัดติดต่อสื่อสารและทำงานร่วมกับสำนักงานใหญ่ที่อยู่ในเมืองหลวงได้4. ระบบสำนักงานอัตโนมัติ เป็นแนวคิดที่นำระบบเครือข่ายมาใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์สำนักงาน เช่น ระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบประชุมทางไกล5. เทคโนโลยีระบบสารสนเทศ เป็นการประมวลผลข้อมูลในลักษณะต่าง ๆ เพื่อช่วยในการจัดการและบริหารงาน6. ระบบมัลติมีเดีย เป็นเทคโนโลยีที่ผสมผสานภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง และข้อความเข้าด้วยกันโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยในการแสดงผล นำไปประยุกต์ใช้ในการสอน เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) กิจกรรมเพื่อการศึกษาที่ใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย ในปัจจุบันนี้ได้แก่ วิทยุกระจายเสียงเพื่อการศึกษา วิทยุโรงเรียน โทรทัศน์เพื่อการศึกษา การสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ระบบประชุมทางไกล ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในบทความผู้เขียนได้กล่าวถึงความสำคัญของเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาที่มีในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และประวัติการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษาของไทยไว้ด้วยที่มา : ชม ภูมิภาค, เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา, เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา, ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 หน้า 15-17 2543
**********************************************
หน่วยที่ 2
........คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
........1. ความหมายของคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
คอมพิวเตอร์ (Computer) อาจให้ความหมายได้หลายทัศนะ เช่น คอมพิวเตอร์ คือเครื่องประมวลผลที่จัดให้ข้อมูลดิบอยู่ในรูปแบบที่สื่อความหมายเหมาะกับการนำไปใช้ในลักษณะต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี มีหน่วยความจำที่สามารถจำข้อมูลได้จำนวนมาก สามารถคำนวณเปรียบเทียบข้อมูลที่มีความยุ่งยากซับซ้อนได้ในเวลาเพียงเศษส่วนของวินาที คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ทำงานแทนมนุษย์ในด้านการคิดคำนวณ และสามารถจำข้อมูล ทั้งตัวเลข ตัวอักษร และรูปภาพได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งต่อไปนอกจากนี้ยังสามารถจัดการเกี่ยวกับสัญลักษณ์ (Symbol) ได้ด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตาม ขั้นตอนของโปรแกรม สามารถเปรียบเทียบข้อมูลทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลไว้ในตัวเครื่องสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่าง ๆ ได้วัตถุประสงค์เมื่อเสนอกระบวนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอนนี้แล้ว ผู้ศึกษาสามารถ1. อธิบายความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ได้2. ระบุชนิดและประเภทขอคอมพิวเตอร์ได้3. อธิบายการทำงานและองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ได้4. อธิบายการใช้คอมพิวเตอร์ในการศึกษาได้ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ แนะนำส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบทั่วไปของคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เป็นส่วนที่ทำหน้าที่รับข้อมูลเข้าสู่หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) เพื่อทำการประมวลต่อไป2. หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU (Central Processing Unit) ทำหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ และทำหน้าที่ควบคุมการทำงานต่างภายในคอมพิวเตอร์3. หน่วยแสดงผล (Output Unit) เป็นหน่วยที่แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลข้อมูล ซึ่งมีรูปแบบการแสดงผลอยู่ 2 แบบ คือ3.1 แบบที่สามารถเก็บไว้ดูภายหลังได้3.2 แบบที่ไม่มีสำเนาเก็บ4.คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือกระบวนการเรียนการสอน โดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ ในการนำเสนอเนื้อหาเรื่องราวต่างๆ มีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรง และเป็นการเรียน แบบมีปฏิสัมพันธ์ คือสามารถโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้องค์ประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน1. เสนอสิ่งเร้าให้กับผู้เรียน ได้แก่ เนื้อหา ภาพนิ่ง คำถาม ภาพเคลื่อนไหว2.ประเมินการตอบสนองของผู้เรียน ได้แก่ การตัดสินคำตอบ3. ให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการเสริมแรง ได้แก่ การให้รางวัล หรือ คะแนน4. ให้ผู้เรียนเลือกสิ่งเร้าในลำดับต่อไป5. การวัดประเมินผลคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาการประเมินบทเรียนและสภาพการนำไปใช้มีบทเรียนจำนวนไม่น้อยที่ประเมินโดยผ่านข้อมูลเกี่ยวกับสภาพการใช้จริงตามความมุ่งหมายของบทเรียนนั้นๆ ดังนั้นจึงอาจคาดเดาได้ยากว่าการ ใช้บทเรียนนั้นๆ ในสภาพจริงจะประสบผลสำเร็จหรือล้มเหลว เพราะความสำเร็จหรือความล้มเหลวของ CAI ไม่ได้ขึ้นอยู่กับ CAIบทเรียนแต่จะขึ้นอยู่กับระดับการนำไปใช้จริงด้วยดังนั้นการประเมินบทเรียนควรพิจารณาในเรื่องนี้ให้ละเอียดดังที่รากอสตา (Ragosta.1983 : 124) ได้กล่าวว่า"ความสำเร็จของ CAI จะขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพที่เกิดขึ้นจากากรใช้บทเรียนนั้น เมื่อผู้เรียนเรียนจาก CAI ผู้เรียนควรได้เกิดจากการเรียนรู้แบบรอบรู้ เป็นการเรียนด้านวิชาการโดยแท้ เป็นการสดนแบบโดยตรง (Direct Instruction)บรรยากาศในการเรียนดีเป็นการคาดได้ว่า ผู้เรียนได้รับทักษะตามที่คาดหวังและผู้เรียนมีโอกาสมีส่วนร่วม หรือลงมือปฏิบัติในการเรียนระดับสูงที่มา http://sakdadet.blogspot.com/2007/08/blog-post.html
**********************************************
หน่วยที่ 3
........อินเตอร์เน็ตเพื่อการศึกษาและสืบค้น
........อินเตอร์เน็ตเพื่อการศึกษา1. การใช้เป็นระบบสื่อสารส่วนบุคคล บนอินเตอร์เน็ตมีอิเล็กทรอนิกส์เมล์หรือเรียกย่อๆ ว่า อีเมล์(E-mail) เป็นระบบที่ทำให้การสื่อสารระหว่างกันเกิดขึ้นได้ง่าย แต่ละบุคคลจะมีตู้จดหมายเป็นของตัวเองสามารถส่งข้อความถึงกันผ่านในระบบนี้โดยส่งไปยังตู้จดหมายของกันและกันนอกจากนี้ยังสามารถประยุกต์ใปใช้ทางการศึกษาได้2. ระบบข่าวสารบนอินเตอร์เน็ต มีลักษณะเหมือนกระดานข่าวที่เชื่อมโยงถึงกันทั่วโลก ทุกคนสามารถเปิดกระดานข่าวที่ตนเองสนใจหรือสามารถส่งข่าวสารผ่านกลุ่มข่าวบนกระดานนี้เพื่อโต้ตอบข่าวสารกันได้3. การใช้เพื่อสืบค้นข้อมูลข่าวสารต่างๆ บนอินเตอร์เน็ตมีแหล่งข้อมูลขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงกัน และติดต่อกับห้องสมุดทั่วโลกทำให้การค้นหาข้อมูลข่าวสารต่างๆ ทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพหมายถึงสามารถค้นหาและได้มาซึ่งข้อมูลโดยใช้เวลาอันสั้นโดยเฉพาะบนอินเตอร์เน็ตจะมีคำหลัก (Index) ไว้ให้สำหรับการสืบค้นที่รวดเร็ว4. ฐานข้อมูลเครือข่ายใยแมงมุม (World Wide Wed) เป็นฐานข้อมูลแบบเอกสาร (Hypertext) และแบบมีรูปภาพ (Hypermedia) จนมาปัจจุบัน ฐานข้อมูลเหล่านี้ได้พัฒนาขึ้นจนเป็นแบบมัลติมีเดีย(Multimedia)ซึ่งมีทั้งข้อความ รูปภาพ วีดิทัศน์ และเสียงผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสืบค้นกันได้จากที่ต่างๆ ทั่วโลก5. การพูดคุยแบบโต้ตอบหรือคุยเป็นกลุ่ม บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตสามารถเชื่อมต่อกันและพูดคุยกันได้ด้วยเวลาจริง ผู้พูดสามารถพิมพ์ข้อความโต้ตอบกันได้ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดบนเครือข่าย6. การส่งถ่ายข้อมูลระหว่างกันแบบ FTP (Files Transfer Protocol) คือสามารถที่จะโอนย้ายถ่ายเทข้อมูลระหว่างกันเป็นจำนวนมากๆ ได้ โดยส่งผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึ่งทำให้สะดวกต่อการรับ-ส่งข้อมูลข่าวสารซึ่งกันและกันโดยไม่ต้องเดินทางและข่าวสารถึงผู้รับได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น7. การใช้ทรัพยากรที่ห่างไกลกัน ผู้เรียนอาจเรียนอยู่ที่บ้านและเรียกใช้ข้อมูลที่เป็นทรัพยากรการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยได้ และยังสามารถขอใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ในต่างมาวิทยาลัยได้ที่มา..http://it.northbkk.ac.th/elearning/ConceptIT/Chap12/page_12_13_1.asp
**********************************************
หน่วยที่ 4
........เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและสืบค้นข้อมูล
........หลักการและความสำคัญระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบสารนิเทศห้องสมุด การสืบค้น การใช้ข้อมูลสารสนเทศ และแสวงหาความรู้จากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และแหล่งสารสนเทศ การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลสารสนเทศ การจัดเก็บสารสนเทศบนระบบฐานข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การใช้ระบบมัลติมีเดีย การสร้างสารนิเทศ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพและการเรียนรู้สังคมยุคข่าสารข้อมูลอาจารย์: นิธิมา แก้วมณีศึกษาข้อมูลดังนี้· ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ· ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ· องค์ประกอบของระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์· แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศประโยชน์ของระบบสารสนเทศ· วิวัฒนาการของฮาร์ดแวร์· ประเภทของคอมพิวเตอร์· ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์· อุปกรณ์การนำเข้าข้อมูล· ซีพียูและหน่วยความจำหลัก· หน่วยความจำสำรอง· เทคโนโลยีด้านการส่งออกข้อมูลแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ· ประเภทของซอฟแวร์· ซอฟแวร์ระบบ (System Software)· ซอฟแวร์ประยุกต์ (Application software)ภาษาโปรแกรม (Programming Language)· ระบบแฟ้มข้อมูล· ปัญหาของระบบแฟ้มข้อมูล· ฐานข้อมูลและการจัดการฐานข้อมูล· องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล· ความสัมพันธ์ของข้อมูล· ประเภทของระบบฐานข้อมูล· การออกแบบระบบฐานข้อมูลการสร้างระบบฐานข้อมูล· การสื่อสารโทรคมนาคม· องค์ประกอบระบบสื่อสารโทรคมนาคม· ตัวกลางหรือช่องทางของการสื่อสาร· สัญญาณอิเลคทรอนิคส์· ลักษณะตัวกลางในการสื่อสาร· กระบวนการสื่อสาร· เครือข่าย· อินเทอร์เน็ต· World Wide WebWireless Networkจริยธรรมและความปลอดภัยในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ· ประเด็นเกี่ยวกับจริยธรรม· การคุ้มครองความเป็นส่วนตัว· การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา· อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์· การรักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์
**********************************************
หน่วยที่ 5
........ฝึกปฏิบัติการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและสืบค้นข้อมูลฝึกปฏิบัติการเรื่องต่อไปนี้- สร้างความคุ้นเคยกับพังก์ชันต่าง ๆ ของ Internet Explorer- การใช้งาน Search Engine ในการสืบค้นข้อมูล- การใช้งาน E-Book- จาก Scenario ที่กำหนด ให้ทำการออกแบบเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะใช้สำหรับองค์กรให้ทำการค้นหาจาก Internetข้อมูลการตัดสินในควรประกอบด้วยo รายละเอียด ต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์เช่น RAM, Hard disk และอื่น ๆo ให้ทำการเปรียบเทียบราคาด้วย3. มอบหมาย Coursework Assignment· การใช้งาน System Softwareo Doso Windows· การสร้าง Webpage ด้วย Application Software· การออกแบบและตกแต่งตัวอักษรและรูปภาพด้วย Application Software- ให้ออกแบบตารางเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูล โดยใช้ MS Word- ให้ทำการสร้างตารางที่ได้ทำการออกแบบไว้โดยใช้ MS Accessการ Upload ข้อมูลขึ้นสู่ Web-Serverการใช้งาน FTP สำหรับการดาวน์โหลดข้อมูลการ Share ข้อมูลบนระบบเครือข่ายการดูแลความปลอดภัยบนระบบเครือข่ายขั้นพื้นฐานที่มา..http://comm-sci.pn.psu.ac.th/commsciweb/couse_outline/CA/870221.doc
**********************************************